หน้าหนาวนี้ เลือกเครื่องฟอกอากาศ ตัวช่วยบรรเทา โรคปอดบวม
Share: facebook_share line_share twitter_share messenger_share

บทความ หน้าหนาวนี้ เลือกเครื่องฟอกอากาศ ตัวช่วยบรรเทา โรคปอดบวม


winter is coming หน้าหนาวนี้ จะหนาวหรือเปล่าไม่รู้ แต่ที่รู้ๆคือ หากดูแลตัวเองไม่ดี โรคที่ตามมาหนึ่่งในนั้น คือ โรคปอดบวม ซึ่่งเชื้อโรคเหล่านี้หายไปได้ หากมีเครื่องฟอกอากาศ หรือ เครื่องกรองอากาศ

 

โรคปอดบวม หรือ ปอดอักเสบ ( Pneumonia )

      ได้รับเชื้อจากแบคทีเรีย ไวรัส จนลุกลามกลายเป็นน้ำหนอง ซึ่งจะมีไข้  ไอ บวกกับมีเสมหะ อีกทั้งยังแน่นหน้าอก  หายใจเร็ว หอบ  ทำให้ร่างกายไม่สามารถรับออกซิเจนได้ อาการเหล่านี้เกิดหลังจากการป่วยเป็นไข้หวัดเรื้อรัง พบได้มากในผู้ป่วย โรคหอบหืด กำลังเข้าสู่หน้าหนาวแล้ว โรคนี้ตามมาแน่นอน ถ้าไม่ดูแลตัวเองดีๆ

 

- Mycoplasma

- เชื้อชนิดอื่น เช่น เชื้อรา

- สารเคมี

- Bacteria

- Viruses

 

     เรียกได้ว่า โรคปอดบวม ( Pneumonia ) สามารถเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ โดยส่วนใหญ่จะเกิดจากเชื้อไวรัส หรือ แบคทีเรีย โดยสามารถติดต่อได้จากการหายใจเอาเชื้อที่แพร่กระจายอยู่ในอากาศเข้าไป

 

 

 

ความแตกต่างระหว่างปอดอักเสบ กับ ปอดบวม  ( Pneumonia )

  •      อาจจะเกิดจากเชื้อที่ได้รับโดยตรง กับ สถานที่ที่เข้าไปอาศัย หรือ สัมผัส ซึ่งปอดอักเสบจะติดเชื้อมากกว่าปอดบวม
  •      ปอดอักเสบ จากที่ชุมชน ( Community - Acquired Pneumonia ) คือ ปอดอักเสบ เนื่องจากการติดเชื้อจุลินทรีย์ โดยมีสาเหตุของการติดเชื้อมาจาก
  •      ปอดอักเสบ ในโรงพยาบาล ( Nosocomial Pneumonia หรือ Hospital - Acquired Pneumonia ) คือ  ปอดอักเสบที่เกิดขึ้นในผู้ป่วย หลังจากได้รับการรักษา ผู้ป่วยจะะมีอาการที่รุนแรง เพราะว่าเป็นอาการที่แทรกซ้อนโรคปัจจุบันที่เป็นอยู่
  •      แบคทีเรีย สามารถพบได้จากเชื้อ สเตรปโตค็อกคัส นิวโมเนียอี
  •      ไวรัส พบบ่อยในเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 5 ขวบ อาการไม่รุนแรงมาก และ เชื้อไวรัสบางชนิดที่เป็นสาเหตุของ ไข้หวัด สามารถทำให้เป็นปอดบวมได้

 

การรักษา โรคปอดบวม ( Pneumonia )

1. การรักษาปอดบวมที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย การให้ยาปฏิชีวนะ มักใช้ในผู้ป่วยที่อาการไม่รุนแรง และไม่มีอาการแทรกซ้อน อาจให้การ

2. รักษาแบบผู้ป่วยนอก ด้วยยาปฏิชีวนะชนิดรับประทาน เช่น ยาอะม็อกซี่ซิลลิน 

3. รักษาตามอาการทั่วไป การให้ยาลดไข้ ให้สารน้ำทางหลอดเลือด ให้ออกซิเจน ตามอาการของผู้ป่วย

4. โรคปอดบวม ( Pneumonia ) จากเชื้อไวรัส สามารถหายได้ในระยะเวลา 1 - 3 สัปดาห์  หากอาการไม่ดีขึ้น หรือ เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ควรอยู่ในความดูแลของแพทย์อย่างใกล้ชิด

 

โรคแทรกซ้อน ที่สามารถเกิดขึ้น ขณะป่วยเป็น โรคปอดบวม ( Pneumonia )

 

     น้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด ( Pleural effusion ) การอักเสบของ เนื้อปอด ลึกลามไปถึงเยื่อหุ้มปอด โดยน้ำอาจจะเยอะน้อย  ถ้ามีไม่มากสามารถหายเองได้ หากมีจำนวนมาก อาจเกิดอาการหอบ รักษาโดยการดูดน้ำออก

     หนองในช่องเยื่อหุ้มปอด ( Empyema ) ภาพถ่ายรังสีเหมือนกับน้ำในช่องหุ้มปอด แต่จะมีไข้สูง บวกกับ มีอาการหอบเหนื่อย

 

การดูแลตัวเอง ลดโอกาสเสี่ยงป่วยเป็น โรคปอดบวม ( Pneumonia )

1 .เด็กที่มีอายุต่ำกว่า 5 ปี

2. ผู้สูงวัยที่มีอายุมากกว่า 65 ปีขึ้นไป

3. รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ให้ครบ 5 หมู่ และ เพียงพอ

4. นอกจากปรับพฤติกรรมการใช้ชีวิต แพทย์อาจแนะนำให้กลุ่มเสี่ยงต่อไปนี้ รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคปอดบวม

5. หลีกเลี่ยงการอยู่ในที่แออัด

6. หลีกเลี่ยงควันไฟ หรือ ควันบุหรี่

7. ดูแลให้ความอบอุ่นร่างกายอยู่เสมอ โดยใส่เสื้อผ้าหนาๆ ในเวลาที่อากาศเย็น

8. ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันอ่อนแอ เช่น ผู้ติดเชื้อเอชไอวี โรคมะเร็ง  และ ผู้ที่ได้รับยากดภูมิคุ้มกัน

9. ผู้ที่สูบบุหรี่เป็นเวลานาน

10. ดื่มแอลกอฮอล์ ปริมาณมากเป็นประจำ

 

เครื่องฟอกอากาศ  ( Air Purifier )

     ควรเลือก เครื่องฟอกอากาศ ( Air Purifier ) ที่สามารถกรองกลิ่น หรือ กรองฝุ่นได้ เพราะเป็นสาเหตุหลักของการเกิด โรคปอดบวม  เพราะ หากภายในบ้าน หรือ บริเวณบ้าน เต็มไปด้วยฝุ่น หรือ เชื้อโรค นอกจากจะทำให้ป่วยเป็น โรคปอดบวม สามารถกลายเป็นโรคอื่นๆ ที่มีผลต่อระบบทางเดินหายใจ

 

    เครื่องฟอกอากาศ ( Air Purifier ) ควรจะต้องสร้างอากาศที่ดีขึ้น เพื่อจำกัดเชื้อโรค ที่สามารถทำลายกลิ่นที่เกิดขึ้นภายในบ้าน หรือ บริเวณบ้าน

 

ด้วยความปรารถนาดีจาก mannature  เครื่องฟอกอากาศ ตราแมนเนเจอร์ (Air Purifierby ManNature)

 

อ่านบทความเพิ่มเติมได้ที่

โรคไข้หวัดใหญ่ หนาวนี้มาแน่ บรรเทาอาการด้วย เครื่องฟอกอากาศ

เราหายใจไปกับ มลพิษทางอากาศ มันแย่แค่ไหนต่อสุขภาพ